รายงาน
การบ้านครั้งที่1
เรื่อง Tyfaces (ตัวอักษร)
แปลและสรุปการออกแบบอักษรจากหนังสือ
จัดทำโดย
นาย จิรายุทธ รุ่งมณี
5611310482
คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาวิชา ศิลปกรรม แขนง ออกแบบนิเทศศิลป์
เสนอโดย
ผศ.ประชิด ทิณบุตร
รายงานในเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
วิชา การออกแบบอักษรเพื่อการพิมพ์(ARTD2304) ภาคเรียนที่2/2557
มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
สรุปเนื้อหาการบ้านครั้งที่
1หน้าที่1
บทนำ
เรื่อง
ตัวอักษร(Typefaces)
การออกแบบ(Design)
คือ
โครงการหรือแผนงานที่กำหนดไส้ในสมอง
ซึ่งประกอบด้วยวิธีการและจุดหมายปลายทางไว้เรียบร้อยแล้วและได้กำหนดการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มแล้วเราต้องร่างแบบงานจะเป็นโดยวิธีสเกตซ์บนกระดาษส่วนการจัดส่วนมูลฐานต่างๆซึ่งทำให้เกิดงานศิลปะ
ตัวอักษร(Typefaces)
เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน จากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง สะท้อนถึงอารมณ์ เหตุผล ความคิด ความต้องการ ความรู้สึก และตัวอักษรยังสามารถบันทึกรวบรวมความรู้สึกต่างๆ ไว้เป็นระยะเวลานาน
ที่มาของภาพ : http://image.dek-d.com/27/0408/5066/117608861
บทที่1
พื้นฐานงานอักษร
ตามหลักพื้นฐานงานอักษร หากหันไปมองรอบตัวจะพบว่าหลายๆสิ่งที่เห็นนั้นมีตัวอักษรเป็นส่วนประกอบบางครั้งอาจมาในรูปประโยคยาวๆดังที่เราอ่านอยู่
หรืออาจมาเป็นวลีสั้นๆ เช่น
คำโฆษณาบนแผ่นป้ายต่างๆแม้ตัวอักษรเหล่านั้นมีเพียงอย่างเดี่ยวคือสื่อความหมายให้ผู้อ่านได้รับรู้
ตัวอักษรที่ดีนอกจากจะต้องสื่อความหมายได้ชัดเจนแล้วยังต้องช่วยเสริมสร้างบุคลิกลักษณะของสื่อที่ส่งออกไปให้ทรงพลังมากยิ่งขึ้น
สรุปเนื้อหาการบ้านครั้งที่
1หน้าที่2
บทที่2
ความหมายของงานอักษร
ความหมายของงานอักษรตามนิยามนั้นหมายถึง “สัญลักษณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสารจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหรืออีกกลุ่มหนึ่ง”
หากเปรียบเทียบระหว่างสื่อกับอาหาร2จานที่เป็นเมนูเดียวกัน
กินแล้วอิ่มท้องเหมือนๆกัน แต่จานที่ได้รับการปรุงแต่งให้สวยงาม
ย่อมทำให้ผู้ทานรู้สึกอร่อยละมีความสุขมากกว่าเป็นไหนๆงานอักษรเช่นเดียวกับเอกสารที่ผ่านการเลือกใช้ตัวอักษรอย่างเหมาะสม
และจัดหว่างตำแหน่งอย่างสวยงามย่อมดึงดูดสายตาผุ้อ่านให้มาจดจ่อกับการอ่านตั้งแต่ต้นจนจบ
บทที่3
วิวัฒนาการของตัวอักษร
จุดเริ่มต้นของงานอักษรมีมาแต่โบราณเริ่มตั้งแต่การคิดค้นตัวอักษรภาพของชาว
อียิปต์โบราณ ที่มีชื่อเรียกอักษร
ไฮโรกริฟฟิก(Hieroglyphs) ลักษณะเด่นของตัวอักษรในยุคนั้นคือ
การใช้ภาพสัญลักณ์แทนความหมายต่างๆจึงเกกิดปปัญหาเมื้อคำพูดยิ่งเยอะขึ้ยตัวอักษรก็ยิ่งเยอะตามไปด้วยเพื่อเป็นการแก้ปัญหาจึงสร้างสัญลักณ์ใหม่ขึ้นมา
เช่น รูปสามเหลี่ยมคว่ำมีขีดด้านบนหมายถึง วัว
แต่อย่างไรก็ตามภาพก็ยังไม่สะดวกต่อการสื่อสารนักจะค่อยๆถูกลดความสำคัญแล้วเลือนหายไปตามการเวลาจนมาถึงยุคที่ใช้ภาที่ประกอบไปด้วยพยัญชนะ
สระ (วรรณยุกต์มีเป็นบางภาเท่านั้น เช่น ภาไทยและจีน)
มาประกอบเป็นคำและในปัจจุบันภาษาที่ใด้การยอมรับเป็นที่นิยมมากที่สุดคือ ภาษาอังกฤษ ที่พัฒนาจากภาษาลาตินนั้นเอง
ที่มาของภาพ : http://image.dek-d.com/27/0408/5066/117608861
สรุปเนื้อหาการบ้านครั้งที่
1หน้าที่3
บทที่4
บทบาทของฟอนต์
ในยุคที่คอมพิวเตอร์เติบโตและมีผลกระทบต่อทุกสิ่งอย่าง
รวมไปถึงการใช้ตัวอักษร
การสร้างสรรค์ฟอนต์จึงถือกำเนิดขึ้นมาเพื่อตอบโจท์การใช้งานบนคอมพิมเตอร์และได้มีการพัฒนาประสิทธิภาพและรูปลักษณ์ให้เหมาะสมกับแต่ละช่วงเวลาเรื่อยมา
ตลอดจนพัฒนามาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างแบรนด์ (Brand) เสริมอัตลักษณ์ให้กับตัวสิน้าหรือบริการนั้นเอง
บทที่5
การให้เหตุผล
เราจะสามารถใช้ได้ต่อเมื่อตัวอักษรเล็กและยาวพอ
ย่อหน้าจนสุดขอบกระดาษ
ถ้าประโยคของเราสั้นเหมือนหัวข้อข่าว
จะทำให้ดูแปลกตา พวกเราเคยเห็นหนังสือพิมพ์ เป็นคอลัมน์
จะทำให้ตัวอักษรเว้นไม่เท่ากันและทำให้ดูไม่น่ามองแต่ว่าสิ่งเหล่าสามารถเกิดขึ้นได้
Justify
ถ้าคุณทำ effect ของมันไม่เหมือนคอลัมน์หนังสือพิมพ์
เพราะว่าถ้าประโยคของเราสั้นเกินไปเราจะทำให้เกดช่องระหว่างคำที่ไม่เท่ากัน
ในระหว่างที่บางบรรทัดอาจเบียดกัน Justify ถูกใช้มานานหลายปี
เคยวิจัยเกี่ยวกับความสามรถในการอ่านที่ตอบสนองต่อประโยคที่มีช่องว่างไม่เท่ากัน
ทำให้ความสามารถในการอ่านลดน้อยลง นอกเหนือจากนี้มันทำให้ไมน่าดู เราควรที่จะศึกษา
พวก แมกกาซีน ข่าว นิยาย เราจะสามารถค้นพบว่า
ทำให้ด้านซ้ายตรงกันและส่วนมากจะไม่ส่วนใจส่วนของด้าน ขวา
ในปี1962 maximilien
vox
ได้ทำฟรอมมูล่าออกมา9แบบ นั้นก็คือ
Humanes Didones Incises
Garaldes Mecanes Scriptes
Reales Lineales Manuaires
สรุปเนื้อหาการบ้านครั้งที่
1หน้าที่4
แหล่งศึกษาข้อมูล
หอสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
หนังสือ การออกแบบ : ผู้แต่ง
ทำนอง จันทิมา
หนังสือ
อกกแบบ ประดิษฐ์อักษร ไททย-อังกฤษ : ผู้แต่ง
วัชรพงศ์ หงษ์สุววณ
การเรียนรู้หนังสือ E-book
หนังสือ TYPOGRAPHY
: THE BOOK OF RUNLES :
ผู้แต่ง AndreaWertzoerger http://issuu.com/ndeleon13/docs/bookwork
หนังสือ TYPE CLASS : ผู้แต่ง JAAP VAN TRIEST
http://issuu.com/randynarvaez/docs/vox
แปลสรุปโดย นาย
จิรายุทธ รุ่งมณี
รหัสนักศึกษา 5611310482 กลุ่มเรียน 101
Email : jirayut.jeepjeep@gmail.com
รายงานวิชา ARTD2304 การออกแบบตัวอักษรเพื่อ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น